ครั้งที่ 6
เนื้อหาที่เรียน
เทคนิคการจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
นิทาน
เพลง
คำคล้องจอง
ปริศนาคำทาย
บทบาทสมมติ
แผนภูมิรูปภาพ >>> แผนภูมิรูปภาพ/ของจริง แผนภูมิแท่ง แผนภูมิวงกลม
กิจกรรมการจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมสาระตามมาตรฐาน
ยุภา ธรรมโคตร นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านเกม โดยใช้สื่อที่เป็นจิ๊กซอเพื่อส่งเสริมสาระที่ 3 เรขาคณิต และสาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กมลรัตน์ มาลัย นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านมุมบทบาทสมสติ โดยการเล่นมุมร้านค้าเพื่อส่งเสริมสาระที่ 2 การวัด
ปรางชมพู บุญชม นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านกิจกรรม โดยใช้สื่อที่เป็นรูปทรง จากการให้เด็กจำแนกประเภทของรูปทรงแต่ละชนิดเพื่อส่งเสริมสาระที่ 4 พีชคณิต
ประภัสสร คำบอนพิทักษ์ นำเสนอเทคนิคการสอน โดยให้เด็กนั่งตามชื่อที่ติดไว้ สอนในเรื่องของตำแหน่ง และระยะทางเพื่อส่งเสริมสาระที่ 3 เรขาคณิต
ยุภา ธรรมโคตร นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านเกม โดยใช้สื่อที่เป็นจิ๊กซอเพื่อส่งเสริมสาระที่ 3 เรขาคณิต และสาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กมลรัตน์ มาลัย นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านมุมบทบาทสมสติ โดยการเล่นมุมร้านค้าเพื่อส่งเสริมสาระที่ 2 การวัด
ปรางชมพู บุญชม นำเสนอเทคนิคการจัดประสบการณ์ผ่านกิจกรรม โดยใช้สื่อที่เป็นรูปทรง จากการให้เด็กจำแนกประเภทของรูปทรงแต่ละชนิดเพื่อส่งเสริมสาระที่ 4 พีชคณิต
ประภัสสร คำบอนพิทักษ์ นำเสนอเทคนิคการสอน โดยให้เด็กนั่งตามชื่อที่ติดไว้ สอนในเรื่องของตำแหน่ง และระยะทางเพื่อส่งเสริมสาระที่ 3 เรขาคณิต
การรายงานวิจัยหน้าชั้นเรียนของเพื่อนเลขที่ 13 - 15
เลขที่ 14 รายงานวิจัยเรื่อง ผลการใช้สื่อในท้องถิ่นเพื่อพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์
สรุปวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อในท้องถิ่น 4 ประเภท คือ รูปทรงเรขาคณิต ประเภทตามขนาด ประเภทตามชนิด และประเภทตามสี เช่น การเล่นบล็อกที่ทำจากไม้ประดู่ และกะลามะพร้าว เป็นต้น
เลขที่ 15 รายงานวิจัยเรื่อง การใช้กิจกรรมการละเล่นแบบไทยเพื่อพัฒนามโนทัศน์ด้านคณิตศาสตร์
สรุปวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการเรียนปนเล่น โดยใช้การละเล่นแบบไทย เช่น การละเล่นรีรีข้าวสาร ม้าก้านกล้วย และเกมบรรไดงู เพื่อพัฒนามมโนทัศน์ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การนับเลข จำนวน 1 - 30 ตัวเลขจำนวนคู่ - คี่ และการเปรียบเทียบจำนวนมากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ โดยมีขั้นตอนการจัดเริ่มจากง่ายไปหายาก และเป็นรูปธรรมไปสู่นามธรรม เพื่อฝึกความมีเหตุผล ให้สัมพันธ์กับช่วงอายุ
เลขที่ 14 รายงานวิจัยเรื่อง ผลการใช้สื่อในท้องถิ่นเพื่อพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์
สรุปวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านสื่อในท้องถิ่น 4 ประเภท คือ รูปทรงเรขาคณิต ประเภทตามขนาด ประเภทตามชนิด และประเภทตามสี เช่น การเล่นบล็อกที่ทำจากไม้ประดู่ และกะลามะพร้าว เป็นต้น
เลขที่ 15 รายงานวิจัยเรื่อง การใช้กิจกรรมการละเล่นแบบไทยเพื่อพัฒนามโนทัศน์ด้านคณิตศาสตร์
สรุปวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการเรียนปนเล่น โดยใช้การละเล่นแบบไทย เช่น การละเล่นรีรีข้าวสาร ม้าก้านกล้วย และเกมบรรไดงู เพื่อพัฒนามมโนทัศน์ด้านคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การนับเลข จำนวน 1 - 30 ตัวเลขจำนวนคู่ - คี่ และการเปรียบเทียบจำนวนมากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ โดยมีขั้นตอนการจัดเริ่มจากง่ายไปหายาก และเป็นรูปธรรมไปสู่นามธรรม เพื่อฝึกความมีเหตุผล ให้สัมพันธ์กับช่วงอายุ
กิจกรรมการเรียนรู้
เกม การหารูปทรงจากสี่เหลี่ยม
สื่อ กระดาษสีทรงสี่เหลี่ยมขนาด 1.5 X 1.5 นิ้ว จำนวน 10 ชิ้น
วิธีเล่น ให้สร้างรูปทรงจากจำนวนสี่เหลี่ยมที่กำหนด โดยด้านใดด้านหนึ่งของสี่เหลี่ยมติดกัน
โจทย์ จำนวน 1 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 2 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 3 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 4 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 5 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
สื่อ กระดาษสีทรงสี่เหลี่ยมขนาด 1.5 X 1.5 นิ้ว จำนวน 10 ชิ้น
วิธีเล่น ให้สร้างรูปทรงจากจำนวนสี่เหลี่ยมที่กำหนด โดยด้านใดด้านหนึ่งของสี่เหลี่ยมติดกัน
โจทย์ จำนวน 1 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 2 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 3 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 4 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
จำนวน 5 ชิ้น >>> จำนวนรูปทรงที่ได้ ?
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น