ความรู้
เกมทายตัวเลข
เลขอะไรไม่เข้าพวก
20 15 23 25
(ทุกตัวมีสิทธิ์ไม่เข้าพวก เพราะมันขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่เราจะตั้งขึ้น)
เลขฐานสิบ เช่น 20 คือ 10 กับ 10
25 คือ 10 กับ 10 กับ 5
30 คือ 10 กับ 10 กับ 10 เป็นต้น
แบบทดสอบก่อนเรียน
1. ทฤษฏีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
2. จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
3. ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
4. หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1. ทฤษฏีเพียเจต์กับความรู้ทางคณิตศาสตร์
2. จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
3. ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
4. หลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
พัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัยของบรูเนอร์
- ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (สามารถสร้างมโนภาพในใจได้)
- ขั้นสัญและนามธรรม
พัฒนาการด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัยของไวก๊อตสกี้
ตัวสนับสนุน >>> สภาพแวดล้อม
>>> เพื่อน
จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย
1. เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
2. เพื่อพัฒนามโนภาพทางคณิตศษสตร์ เช่น การบวกลบ
3. เพื่อให้เด็กรู้จัก และสาารถใช้กระบวนการหาคำตอบ
4. เพื่อฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
5. เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
1. เพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
2. เพื่อพัฒนามโนภาพทางคณิตศษสตร์ เช่น การบวกลบ
3. เพื่อให้เด็กรู้จัก และสาารถใช้กระบวนการหาคำตอบ
4. เพื่อฝึกฝนคณิตศาสตร์พื้นฐาน
5. เพื่อส่งเสริมให้เด็กค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์
1. การสังเกต (Observation)ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า
2. การจำแนกประเภท (Classifying)
อาศัยเกณฑ์ในการจำแนก
3. การเปรียบเทียบ (Comparing)
- สิ่งที่จะเปรียบเทียบมีสองสิ่งขึ้นไป
- ควรมีความรู้ความเข้าใจลักษณะเฉพาะ และศัพท์ทางคณิตศาสตร์
4. การจัดลำดับ (Ordering)
- เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
- จัดลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์
5. การวัด (Measurement)
- การหาค่าหรือปริมาณที่มีหน่วยมาตรฐานในการวัด
- สิ่งที่จะวัด ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก และปริมาณ
6. การนับ (Counting)
- นับแบบท่องจำ หรือเรียกว่า "นับปากเปล่า" เป็นการท่องจำแบบไม่เข้าใจความหมาย
- นับแบบมีความหมาย
7. รูปทรงและขนาด (Sharp and Size)
เด็กปฐมวัยจะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนเข้าเรียน เพราะเป็นประสบการณ์จากสิ่งรอบตัวเด็ก
2. การจำแนกประเภท (Classifying)
อาศัยเกณฑ์ในการจำแนก
3. การเปรียบเทียบ (Comparing)
- สิ่งที่จะเปรียบเทียบมีสองสิ่งขึ้นไป
- ควรมีความรู้ความเข้าใจลักษณะเฉพาะ และศัพท์ทางคณิตศาสตร์
4. การจัดลำดับ (Ordering)
- เป็นทักษะการเปรียบเทียบขั้นสูง
- จัดลำดับสิ่งของหรือเหตุการณ์
5. การวัด (Measurement)
- การหาค่าหรือปริมาณที่มีหน่วยมาตรฐานในการวัด
- สิ่งที่จะวัด ได้แก่ อุณหภูมิ เวลา ระยะทาง ความยาว น้ำหนัก และปริมาณ
6. การนับ (Counting)
- นับแบบท่องจำ หรือเรียกว่า "นับปากเปล่า" เป็นการท่องจำแบบไม่เข้าใจความหมาย
- นับแบบมีความหมาย
7. รูปทรงและขนาด (Sharp and Size)
เด็กปฐมวัยจะมีความรู้เกี่ยวกับรูปทรงและขนาดก่อนเข้าเรียน เพราะเป็นประสบการณ์จากสิ่งรอบตัวเด็ก
คำศัพท์เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
- ตัวเลข
- ขนาด
- รูปร่าง
- ที่ตั้ง
- ค่าของเงิน
- ความเร็ว
- อุณหภูมิ
วิธีการสอน
คุณครูใช้สื่อเป็น power point ในการสอนและบรรยาย มีเกมแทนคำถามช่วนในการเรียนการสอนและตอบคำถาม
การประเมิน
สภาพห้องเรียน
เครื่องฉายโปรเจคเตอร์ พร้อมใช้งาน จัดเก้าอี้เป็นรูปตัวยู อากาศในห้องเย็นสบาย
ตนเอง
มาสาย ทำแบบทดสอบไม่ทันตามเวลาที่กำหนด ตอบคำถามเสียงเบา ทำให้คุณครูไม่ได้ยิน จดบันทึกย่อตามที่คุณครูบรรยาย
เพื่อน
เข้าชั้นเรียนตรงเวลา มีความสนใจและตั้งใจเรียน ทานขนมในห้องเรียน แสดงความคิดเห็น และตอบคำถามอาจารย์
อาจารย์
บริหารเวลาการสอนได้ดี เข้าสอนตรงเวลา พูดเสียงดังฟังชัด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น